...ข่าวจากกลุ่มวิจัย ...

bullet

พายุสุริยะมหันตภัยเงียบที่คุกคามโลก (ผู้จัดการ Online วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546)

bullet

ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ (กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2547)

bullet

ภาพจากปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ (photos of venus transit) (กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2547)

bullet

พระอาทิตย์ทรงกลดในกรุงเทพฯ (กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2547)

bullet

การประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง "ดาราศาสตร์และดาราศาสตร์ฟิสิกส์ไทย ประจำปี 2547" (กลุ่มฟิสิกส์อวกาศและอนุภาคพลังงานสูง วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2547)

bullet

คำถาม คำตอบเรื่องดาวเคราะห์ดวงใหม่ (บทสัมภาษณ์พิเศษ รศ.ดร.เดวิด  รูฟโฟโล 9 สิงหาคม พ.ศ. 2548)

   --------------------------------------------------------

 

...ข่าวด้านอวกาศ และดาราศาสตร์ .... 

 

 

 

 

พายุสุริยะ :

ภัยธรรมชาติที่ไม่ใช่มหันตภัย

ศ.ดร.เดวิด รูฟโฟโล

ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหิดล

 

November 5th, 2010

   

สิ่งที่เกิด หรือไม่เกิด จากพายุสุริยะ

· ไม่เคยทำให้ มนุษย์ตาย มนุษย์บาดเจ็บ สิ่งปลูกสร้างพัง    (ไม่เคยเกิดแบบภาพยนตร์ 2012)

· บางครั้ง เคยมีผลกระทบต่อ

– ดาวเทียม (และการสื่อสาร) ยานอวกาศ

– เครื่องบินใกล้ขั้วโลกเหนือ

– ระบบไฟฟ้า (โดยเฉพาะในประเทศใกล้ขั้วโลกเหนือ)

– น่าจะกระทบนักบินอวกาศ หากไปดวงจันทร์หรือดาวอังคาร ฯลฯ

· อาจเป็นไปได้ที่จะกระทบคนทั่วไปในทางอ้อม

มีพายุสุริยะครั้งรุนแรงไห ?

· ควรจะมีพายุสุริยะเกิดขึ้นบ้างในช่วงปี พ.ศ. 2554-2560 (ค.ศ. 2011-2017)

· อาจมี 1-2 ครั้งที่มีผลกระทบต่อกิจกรรมของมนุษย์

· มีความเป็นไปได้ตลอดช่วง ไม่ใช่เฉพาะปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013)

· แต่ไม่มีเหตุผลแน่ชัดว่าพายุสุริยะควรจะรุนแรงมากกว่าปกติ

 

โอกาสในการที่จะเกิดเกิดพายุสุริยะนั้น เราสามารถสังเกตได้จากผิวดวงอาทิตย์ (โฟโตสเฟียร์) ได้แก่

· จุดมืด (sunspots): เพียงสว่างน้อยลง (อุณหภูมิต่ำกว่า)

· จุดมืดเป็นขั้วแม่เหล็ก

· มีจำนวนมากทุก ๆ 11 ปี

§ มากที่สุดเมื่อ ~ พ.ศ.2543 (ค.ศ.2000)

§ น้อยที่สุดเมื่อ ~ .ศ.2551 (ค.ศ.2008)

 

ผิวดวงอาทิตย์อุณหภูมิประมาณ 6000 K ... แต่ในจุดมืดประมาณ 4000 K

 

 

วัฏจักรจุดมืดที่ดวงอาทิตย์

 

 

ภาพของดวงอาทิตย์ในรังสี X ขณะมีจุดมืดจำนวนมาก

 

ดวงอาทิตย์จะสะสมพลังงานแม่เหล็กจนระเบิดออกมาเป็นพายุสุริยะ ซึ่งก็คืออนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ (รังสีคอสมิกชนิดหนึ่ง)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                                                                                                             

 

 

ลมสุริยะมาจากบรรยากาศดวงอาทิตย์ออกมาทุกทิศทุกทางตลอดเวลาและกระทบเส้นสนามแม่เหล็กของโลก

Image credit: K. Endo, Nikkei Science Inc.

 

สภาพอวกาศ (Space Weather)

 

ทำไมรัฐมนตรีกลาโหมของสหราชอาณาจักรถึงกังวล 

· เขาแถลงข่าวเรื่องพายุสุริยะ ควบกับ …

· ศัตรูจงใจใช้อาวุธนิวเคลียร์ระเบิดในบรรยากาศ : พัลส์แม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic pulse)

– พัลส์ E1 (<10-6 s) ทำลายชิปปกติในรัศมีพันๆ กม.

– พัลส์ E2 (10-6-1 s) คล้ายกับฟ้าผ่า

– พัลส์ E3 (1-1000 s) คล้ายกับพายุสุริยะประเภท CME มาถึงโลก (บีบสนามแม่เหล็กโลก เกิดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง)

– พายุสุริยะมีแค่พัลส์ E3

 

พัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าที่คาดว่าจะเกิดจากการระเบิดนิวเคลียร์ในบรรยากาศโลก

 

เนื่องจากพายุสุริยะ ก็คือรังสีคอสมิกชนิดหนึ่ง ดังนั้นเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจและมีความรู้ทางด้านฟิสิกส์ดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น ในที่นี้ก็ขออธิบายเกี่ยวกับรังสีคอสมิกให้ผู้อ่านได้เข้าใจ

รังสีคอสมิกคือ ...  

· อนุภาคพลังงานสูงหรือรังสีแกมมาจากนอกโลก

· สสารธรรมดาที่ถูกเร่งให้มีพลังงานสูง ได้แก่ p, 4He, 12C, 16O, ... (ions)    e-, γ, μ+, μ-, n, …

· สาเหตุหลักที่มีการกลายพันธ์ของสิ่งมีชีวิต

· มีแหล่งกำเนิดจาก

– ภายในระบบสุริยะ เช่น ดวงอาทิตย์ (solar energetic particles)

– ภายนอกระบบสุริยะ (เช่น galactic cosmic rays)

 

 

ภาพแสดงรังสีคอสมิกจากอวกาศเมื่อมากระทบกับชั้นบรรยากาศของโลก

Image credit: www.invisiblemoose.com (WALTA group)

 

แหล่งกำเนิดของรังสีคอสมิกจากกาแล็กซี (galactic cosmic rays) ส่วนใหญ่ถึงเร่งโดยคลื่นกระแทก (shocks) ที่เศษบริเวณเศษเหลือของซูปเปอร์โนวา ( supernova remnants) เช่น Cygnus Loop

 

 

     

Cygnus Loop

 

ปัจจุบันเรามีเครื่องตรวจวัดนิวตรอนซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย คือ สถานีตรวจวัดนิวตรอนสิรินธร- ยอดดอยอินทนนท์ ! 

· ตรวจวัดจำนวนรังสีคอสมิก  นาทีต่อนาที จนรอบทศวรรษ

· อาจใช้ในการพยากรณ์สภาพอวกาศ  [Leerungnavarat et al. 2003]

· รังสีคอสมิกชนกับบรรยากาศโลก แล้วก่อให้เกิดอนุภาคย่อย รวมนิวตรอน

· ระดับความสูงสำคัญมาก !

· เมืองไทย อยู่ในตำแหน่งพิเศษ

· กลุ่มวิจัยของเรามีประสบการณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานีตรวจวัดนิวตรอน [Bieber et al. 2002, 2004, 2005, Ruffolo et al. 2006]

 

 

   

งานวิจัยที่มีอยู่ในประเทศไทย

 

   

 

 

ภาพสถานีตรวจวัดนิวตรอนสิรินธร ขณะเตรียมการติดตั้งเครื่องตรวจวัดนิวตรอน

 
 
ภาพทหารกำลังช่วยเหลือในการเรียงตะกั่วสำหรับสอดเครื่องตรวจวัดนิวตรอน
 
 
ภาพขณะกำลังติดตั้งฐานสำหรับเครื่องตรวจวัดนิวตรอน
 
 
 
เครื่องตรวจวัดนิวตรอน
 
 
 
สมาชิกในห้องปฏิบัติการ

เรียบเรียงโดย ไพศาล ตู้ประกาย

 

----------------------------------------------------------

 

 

 

แฟ้มข่าว


ข่าวปี พ.ศ. 2552

เดือน มกราคม 2552

เดือน กุมภาพันธ์ 2552

เดือน มีนาคม 2552

เดือน เมษายน 2552

เดือน พฤษภาคม 2552

เดือน มิถุนายน 2552

เดือน กรกฎาคม 2552

เดือน สิงหาคม 2552

เดือน กันยายน 2552

เดือน ตุลาคม 2552

เดือน พฤศจิกายน 2552

เดือน ธันวาคม 2552

ข่าวปี พ.ศ. 2551

เดือน มกราคม 2551

เดือน กุมภาพันธ์ 2551

เดือน มีนาคม 2551

เดือน เมษายน 2551

เดือน พฤษภาคม 2551

เดือน มิถุนายน 2551

เดือน กรกฎาคม 2551

เดือน สิงหาคม 2551

เดือน กันยายน 2551

เดือน ตุลาคม 2551

เดือน พฤศจิกายน 2551

เดือน ธันวาคม 2551

ข่าวปี พ.ศ. 2550

เดือน มกราคม 2550

เดือน กุมภาพันธ์ 2550

เดือน มีนาคม 2550

เดือน เมษายน 2550

เดือน พฤษภาคม 2550

เดือน มิถุนายน 2550

เดือน กรกฎาคม 2550

เดือน สิงหาคม 2550

เดือน กันยายน 2550

เดือน ตุลาคม 2550

เดือน พฤศจิกายน 2550

เดือน ธันวาคม 2550

 

ข่าวปี พ.ศ. 2549

เดือน มกราคม 2549

เดือน กุมภาพันธ์ 2549

เดือน มีนาคม 2549

เดือน เมษายน 2549

เดือน พฤษภาคม 2549

เดือน มิถุนายน 2549

เดือน กรกฎาคม 2549

เดือน สิงหาคม 2549

เดือน กันยายน 2549

เดือน ตุลาคม 2549

เดือน พฤศจิกายน 2549

เดือน ธันวาคม 2549

ข่าวปี พ.ศ. 2548

เดือนมกราคม 2548

เดือน กุมภาพันธ์ 2548

เดือน มีนาคม 2548

เดือน เมษายน 2548

เดือน พฤษภาคม 2548

เดือน มิถุนายน 2548

เดือน กรกฎาคม 2548

เดือน สิงหาคม 2548

เดือน กันยายน 2548

เดือน ตุลาคม 2548

เดือน พฤศจิกายน 2548

เดือน ธันวาคม 2548

ข่าวปี พ.ศ. 2547

เดืือน มกราคม 2547

เดือน กุมภาพันธ์ 2547

เดือน มีนาคม 2547

เดือน เมษายน 2547

เดือน พฤษภาคม 2547

เดือน มิถุนายน 2547

เดือน กรกฎาคม 2547

เดือน สิงหาคม 2547

เดือน กันยายน 2547

เดือน ตุลาคม 2547

เดือน พฤศจิกายน 2547

เดือน ธันวาคม 2547

 

[home] [about us] [staff members] [alumni] [news] [articles & presentations] [research papers] [Princess Sirindhorn neutron monitor] [FAQs] [glossary] [links] [contact us